ลำดับ |
ชื่องานวิจัย |
ชนิดไฟล์ |
1 |
ทัศนะเกี่ยวกับการเลี้ยงไก่พื้นเมืองในชนบท |
|
2 |
การใช้กากไลซีนเพิ่มโปรตีนของมันสำปะหลังในอาหารโค |
|
3 |
อิทธิพลของชนิดสารเสริมและกรรมวิธีการหมักต่อค่าองค์ประกอบเคมี และค่าการสลายตัวในกระเพาะรูเมนของหญ้าเนเปียร์ 6 สายพันธุ์ |
|
4 |
อิทธิพลของระดับการเสริมอาหารข้นต่อปริมาณการกินได้และค่าการย่อยได้ของวัตถุแห้ง และอินทรีย์วัตถุในแพะที่ได้รับ ข้าวโพดเป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก |
|
5 |
ปริมาณการกินได้และค่าการย่อยได้ของวัตถุแห้งและอินทรีย์วัตถุของหญ้าเนเปียร์หมัก 4 สายพันธุ์ในแพะ |
|
6 |
อิทธิพลของกรรมวิธีการเตรียมตัวอย่างต่อค่าองค์ประกอบทางเคมีและค่าการสลายตัวในกระเพาะรูเมนของหญ้าเนเปียร์ |
|
7 |
ลักษณะการเจริญเติบโต องค์ประกอบทางเคมี และค่าการสลายตัวในกระเพาะรูเมนของหญ้าหวายข้อที่ อายุการตัดต่างกัน |
|
8 |
อิทธิพลของกรรมวิธีการถนอมต่อค่าปริมาณการกินได้ การย่อยได้ของวัตถุแห้ง และอินทรีย์วัตถุ และต่อค่าการสลายตัวในกระเพาะรูเมนของวัตถุแห้งของหญ้ารูซี่และใบข่อย |
|
9 |
อิทธิพลของแหล่งโปรตีน พลังงาน และแคลเซี่ยมในอาหารต่อคุณภาพของไข่นกกระทาญี่ปุ่น |
|
10 |
การเจริญเติบโต การให้ผลผลิต องค์ประกอบทางเคมี และค่าการสลายตัวในกระเพาะรูเมนของข้าวโพด ข้าวฟ่าง และหญ้าไขมุกที่อายุการเก็บเกี่ยวที่ต่างกัน |
|
11 |
เอกสารประกอบการสอนวิชาโภชนศาสตร์สัตว์ |
|
12 |
ลักษณะทางพฤษศาสตร์และโครงสร้างของลำต้นก่อนและหลังการหมักในกระเพาะรูเมนของหญ้าพื้นเมืองภาคใต้ 10 ชนิด |
|
13 |
กายวิภาคของระบบย่อยอาหารของกระจง |
|
14 |
อิทธิพลของชนิดกากเนื้อในเมล็ดปาล์มน้ำมันและแหล่งโปรตีนในอาหารข้นต่อสมรรถภาพการผลิตของโคนมลูกผสมขาวดำ |
|
15 |
องค์ประกอบทางเคมี และค่าการสลายตัวในกระเพาะรูเมนของวัตถุแห้งและอินทรีย์วัตถุของทางปาล์มน้ำมัน |
|
16 |
ผลของระดับการเสริมอาหารข้นต่อปริมาณและคุณภาพน้ำนมของแพะ |
|